วันพฤหัสบดีที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2552
http://www.kbyala.ac.th/web-subject/web-tec/pen/CAI/index.htm
2.ชุดการสอน(Instructional Package)
ชุดการสอน คือ ชุดของสื่อประสมที่จัดไว้เป็นกล่องหรือซองตามลักษณะของเนื้อหาวิชา เพื่อรวบรวมเอาสาระและประสบการณ์ต่างๆ สำหรับช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทฤษฎีที่ก่อให้ก่อให้เกิดชุดการสอน
จากการเปลี่ยนแปลงแนวคิดทางการศึกษาหลาย ๆ ด้าน เช่นเรื่องแนวคิดเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล ความพร้อม อัตราเพิ่มของประชากร ทำให้การจัดการสื่อเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
ประเภทของชุดการสอน
1.ชุดการสอนประกอบการบรรยาย
2.ชุดการสอนแบบกลุ่มเล็กหรือชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน
3.ชุดการสอนรายบุคคล
ประโยชน์ของชุดการสอน
1.เร้าความสนใจของผู้เรียน เพราะผู้เรียนมีส่วนร่าวในกิจกรรมการเรียน
2.เรียนได้ตามความสามารถและความพอใจ
3.การเรียนรู้เป็นอิสระจากอารมณ์ของครู
4.ขจัดปัญหาในการขาดแคลนครู
5.สนับสนุนการศึกษานอกระบบ
6.แก้ปัญหาความแตกต่างระหว่างบุคคล
7.เป็นประโยชน์กับศูนย์การเรียน
8.ผู้เรียนสามารถรับทราบความสารถของตน
3. ศูนย์การเรียน (Learning Center)
เป็นสถานที่ที่จัดบรรยากาศและประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียน ประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง
ประเภทของศูนย์การเรียน
1. ศูนย์การเรียนในห้องเรียน เป็นการจัดศูนย์การเรียนอย่างง่าย โดยทำเป็นศูนย์วิชาการต่างๆ
2. ศูนย์การเรียนเอกเทศ เป็นการจัดศูนย์การเรียนที่แยกเป็นอิสระจากห้องเรียน
ขั้นตอนการเรียนในศูนย์การเรียน
1. ทดสอบก่อนเรียน เพื่อวัดความรู้เดิมของผู้เรียน
2. นำเข้าสู่บทเรียน เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้เรียน
3. ดำเนินกิจกรรมการเรียน โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียน
4. สรุปบทเรียน อภิปราย สักถาม หรือ วิธี อื่นๆ
5. ประเมินผลการเรียน โดยทำแบบทดสอบหลังเรียน
ประโยชน์ของศูนย์การเรียน
1.สร้างบรรยากาศในห้องเรียน เพิ่มความสนใจของผู้เรียน
2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนค้นคว้าด้วยตัวเอง
3. ส่งเสริมเสรีในการแสดงความคิดเห็น
4. ส่งเสริมการทำงานเป็นหมู่คณะ
5. ครูได้ใกล้ชิดกับนักเรียน
6. ครูตื่นตัวตลอดเวลาการค้นคว้า หากิจกรรมและสื่อการสอน
7. ห้องเรียนมีระเบียบ
8. เหมาะสำหรับการเรียนการสอนทุกระดับ
9. ใช้สอนผู้เรียนได้เป็นจำนวนมาก
4. การสอนแบบจุลภาค
เป็นการสอนในสถานะการณ์ของห้องเรียนจริง
หลักการเกี่ยวข้องกับการสอนจุลภาค
1. การเสริมแรง เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ผู้เรียนได้เห็นพฤติกรรมของตัวเอง
2.การรับรู้ผลป้อนกลับ ในการสอนแบบจุลภาค ผู้สอนจะได้รับทราบผลการสอนของเขาเองจากหลายๆทาง3. การฝึกซ้ำหลายๆ ครั้ง เป็นสิ่งจำเป็นในการสอนแบบจุลภาคเพราะจะทำให้ผู้สอนเกิดความชำนาญและนำไปใช้จริงได้ง่ายๆ
4. การถ่ายโยงการเรียนรู้ เนื่องจากสอนแบบจุลภาคเป็นการสอนในสถานการณ์จริง
4.1 ขั้นศึกษาทักษะที่ต้องการฝึก
4.2 ขั้นเลือกเนื้อหาและวางแผนการสอน
4.3 ขั้นสอน
4.4 ขั้นวิเคราะห์ผลการสอน
4.5 ขั้นตัดสินใจ
4.6 ขั้นทดลองกับนักเรียนกลุ่มอื่นๆ
ทักษะการสอนแบบจุลภาค
เป็นทักษะที่มุ่งพัฒนาประสิทธิภาพในการสอนของครู ทั้งลักษณะที่ยึดครูเป็นศูนย์กลาง และนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
1. ทักษะสำหรับครูเป็นศูนย์กลาง
1.1 ทักษะการนำสู่การเรียน
1.2 ทักษะการใช้สื่อการสอน
1.3 ทักษะการใช้คำถาม
1.4 ทักษะการอธิบาย
1.5 ทักษะการเล่าเรื่อง
1.6 ทักษะการยกตัวอย่าง
1.7 ทักษะการใช้กระดานชอล์ค
1.8 ทักษะการเร้าความสนใจ
1.9 ทักษะเสริมกำลังใจ
1.10 ทักษะการสรุปบทเรียน
2. ทักษะสำหรับผู้เรียนเป็นศูยน์กลาง
2.1 ทักษะการสอนแบบศูนย์การเรียน
2.2 ทักษะการสอนให้ผู้เรียนทำงานตามลำพัง
ประโยชน์ของการสอนแบบจุลภาค
1. ใช้ในการทดลองสอนและปรับปรุงวิธีการสอน
2. ใช้ทดลองสอนเพื่อปรับปรุงเนื้อหาในหลักสูตร
3. ใช้ฝึกทักษะและสมรรถภาพในการสอนให้กับครูและนักเรียน
4. ช่วยให้อาจารย์นิเทศนก์ปรับปรุงวิธีสอนของตนเอง
5. เปิดโอกาสให้ผู้สอนได้ทดลองสอนจนพอใจ
6. ลดความยุ่งยากสบสนและความกังวลของผู้สอนในชั้นเรียนจริง
ข้อจำกัดของการสอนแบบจุลภาค
1. ผู้ฝึกไม่พบกับสภาพห้องเรียนจริง ซึ่งอาจทำให้สอนไม่เต็มที่ ถ้าเขาไม่มีความสามารถในการถ่ายโยงการเรียนรู้
2. การสอนแบบจุลภาคใช้ประกอบการฝึกสอน แต่ไม่ใช้แทนการฝึกสอน เพราะการสอนแบบจุลภาคเน้นการฝึกทักษะเฉพาะอย่าง ให้เกิดความชำนาญก่อนออกฝึกสอนจริง
5.การสอนเป็นคณะ(Team Teaching)
การสอนเป็นคณะเป็นวิธีการแบบใหม่ เน้นการใช้บุคลากรให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นโดยจัดให้ครูตั้งแต่งสองคนขึ้นไปร่วมกันว่างแผน จัดกิจกรรมการสอน ประเมินผล และร่วมกันรับผิดชอบ
ความมุ่งหมายของการสอนเป็นคณะ
1.ปรับปรุงประสิทธิภาพของการสอน
2.ส่งเสริมการดำเนินชีวิตแบบประชาธิปไตย
3.ใช้เวลาทั้งหมดของครูให้ผูกผันกับการสอนและการจัดประสบการ
4.แก้ปัญหาในการไม่ยุติธรรมในการจัดชั่วโมงสอนของครู
5.ส่งเสริมกิจการด้านฝึกหัดครู
6.ส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ ให้กับนักเรียน
รูปแบบของการสอนเป็นคณะ
1.แบบมีผู้นำคณะ
2.แบบไม่มีผู้นำคณะ
3.แบบครูพี่เลี้ยง
วิธีดำเนินการสอน
1.การสอนเป็นกลุ่มใหญ่ ประมาณ 50-200 คน
2.การสอนเป็นกลุ่มเล็ก ไม่เกิน 15 คน
3.การค้นคว้าด้วยตนเอง
ประโยชน์ของการเรียน
1.ครูมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
2.ครูใช้ความถนัดและความสามารถของตนเองได้อย่างเต็มที่
3.นักเรียนได้รับประสบการณ์ที่มีคุณค่า
4.ครูให้มีโอกาสได้ฝึกงานให้เกิดความชำนาญ
5.ความต่อเนื่องของการเรียนการสอนมีมากขึ้น
ข้อจำกัดของการสอนเป็นคณะ
1.ต้องเสียเวลาในการเตรียมงานมาก
2.จากการวิจัยจะพบว่าการสอนจะได้ผลดีที่สุดเมื่อสอนในห้องเรียนที่จัดเพื่อการนี้โดยเฉพาะ
3.ความสำเร็จขึ้นอยู่กับความรับผิดชอบและความร่วมมือของครู
4.มีปัญหาในเรื่องการจัดตารางสอน
วันพฤหัสบดีที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2552
คำถามท้ายบทหน่วยการเรียนที่ 3
1. ตอบ ภาพส่วนรวมของโครงสร้างหรือขบวนการอย่างหนึ่งที่มีการจัดระเบียบความสัมพันธ์ ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ที่รวมกันอยู่ในโครงสร้างหรือขบวนการนั้น
2. ตอบ แบบจำลอง
ข้อมูล---------------> กระบวนการ-----------------> ผลลัพธ์
(Input)................... (Process)...................... (Output)
..............................ผลลัพธ์ย้อนกลับ
.................................(Feedback)
3. ตอบ 1.เป็นแนวในการดำเนินงานให้เป็นไปตามขั้นตอนที่กำหนดไว้
2. ช่วยให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถสร้างแบบจำลองเพื่อช่วยป้องกันการลงทุนที่ไม่จำเป็นได้
4. สามารถตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการดำเนินงานได้ทุกขั้นตอน
5. สามารถดัดแปลงระบบที่มีประสิทธิภาพอยู่แล้วให้เหมาะสมกับงานอื่นๆ ได้
4. ตอบ แบบจำลองแบบการสอนของเกอร์ลัคและอีลาย
กำหนดเนื้อหา......................................... ......เลือกวิธีการสอน
......................................................................จัดกลุ่มผู้เรียน
.......................]->กำหนดจุดมุ่งหมาย}..........กำหนดเวลา--------------->การสอน------------>ประเมินผล
......................................................................กำหนดสถานที่
กำหนดจุดมุ่งหมาย................................ ......เลือกสื่อการสอน
...............<--------------------------------------------------------------.วิเคราะห์ผลย้อนกลับ<-------------
5.ตอบ. ระบบสื่อการสอน แบ่งเป็นย่อยได้ 3 ระบบ คือ
1.ระบบการผลิตสื่อการสอน คือ เป็นระบบการสร้างหรือทำสื่อการที่มีประสิทธิภาพขึ้นมาใช้งานในกรณีที่ผู้สอนไม่สามารถเลือกหาสื่อการสอน
2.ระบบการใช้สื่อการสอน คือ เป็นตัวกลางของการใช้สื่อการสอนเพื่อถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียน แบ่งเป็น 5 ขั้น
1.ขั้นการเลือก 2.ขั้นการเตรียม 3.ขั้นการใช้ 4.ขั้นการประเมินผล
5.ขั้นการจัดกิจกรรม
3.ระบบการเก็บรักษาสื่อการสอน คือ เป็นระบบของการเก็บรักษาสื่อการสอนให้เป็นระเบียบเพื่อให้สามารถค้นหาได้สะดวกรวดเร็ว
6. ตอบ แบบจำลองการผลิต
.................<------------------------------------------Feedback ..<------------
..............Input----------------> Process-------------------> Output
- กำหนดวัตถุประสงค์......... - ดำเนินการผลิต.................... - ปรับปรุงแก้ไข
7. ตอบ แบบจำลองการใช้สื่อการสอน
.................<----------------------------------------Feedback <------------
..............Input----------------> Process-------------------> Output
- การเลือกสื่อการสอน.......... - การใช้สื่อการสอน.......... - การประเมินผล
- การเตรียมความพร้อม,,,,,,,,,ตามแผนที่กำหนดไว้..........- การติดตามผล
ก่อนใช้สื่อการสอน
8.ตอบ แบบจำลองการเก็บรักษาสื่อการสอน
.................<---------------------------------------------Feedback ..<---------------- ..............Input----------------> Process-------------------> Output
- วางแผนเก็บรักษา......... - ดำเนินการเก็บรักษา........... - การบริการ
- เตรียมที่เก็บรักษา......... - ทำบัตรรายการ................... - ทำสถิติการยืม
- ทำทะเบียนสื่อ............................................................ - ทำรายงาน
.........................................................................................ประจำเดือน
9.ตอบ แบบจำลองระบบวิธีการทางวิทยาศาสตร์
.........................................................ปัญหา......<--------------------------
การรวบรวมข้อมูล-------------->.การสร้างสมมุติฐาน
...............................................การทดสอบสมมุติฐาน
...................................การแปลความหมายและการรายงานผล
...............................................การนำผลที่ได้ไปใช้ ----------------------------
...........................................................................................ข้อมูลย้อนกลับ
1.ตอบ พฤติกรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
ในการแก้ไขปัญหาและสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ มากมาย
2.ตอบ 5 ทาง คือ
1.ตาให้ความรู้สึกจากการเห็น เรียกว่า จักษุสัมผัส
2.หูให้ความรู้สึกจากการได้ยิน เรียกว่า โสตสัมผัส
3. จมูกให้ความรู้สึกจากการได้กลิ่น เรียกว่า ฆานสัมผัส
4.ลิ่นให้ความรู้สึกจากการรู้รส เรียกว่า ขิวหาสัมผัส
5.ผิวหนังให้ความรู้สึกจากการสัมผัส เรียนว่า กายสัมผัส
3.ตอบ 2 ประการ คือ
1. ปัจจัยทางด้านสรีระ
2. ปัจจัยทางจิตวิทยา
4.ตอบ 1.ความใกล้ชิด 2.ความคล้ายคลึง
5.ตอบ 1.สิ่งเร้าภายนอก
2.สิ่งเร้าภายใน
3.ลักษณะของสิ่งเร้า
6. ตอบ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่ พฤติกรรมใหม่ที่ถาวร
7. ตอบ ทฤษฎีการเรียนรู้
1.กลุ่มทฤษฎีการสร้างความสัมพันธ์ต่อเนื่อง 2.กลุ่มทฤษฎีความรู้ความเข้าใจ
(Associative Theories) (Cognitive Theories)
2.1 Gestalt T. 2.2 Field T.
เช่น เบอร์ช เช่น โทลแมน
1.1 ทฤษฎีการเรียนรู้แบบเชื่อมโยง 1.2 ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข
(Connectionism T.) เช่น ธอร์ไดค์ (Conditioning T.)
1.2.1 การเรียนรู้แบคลาสสิค 1.2.2 การเรียนรู้แบบจงใจกระทำ
(Classic Conditioning ) (Operant Conditioning)
เช่น ทฤษฎีของพาพลอฟและวัตสัน เช่น ทฤษฎีของสกินเนอร์
วันพฤหัสบดีที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2552
1.ตอบ คล้ายคลึงหรือร่วมกัน
2.ตอบ กระบวนการส่งหรือการถ่ายทอดความรู้เนื้อหาสาระ ความรู้สึกนึกคิด ตลอดจนประสบการณ์
3.ตอบ channel - receiver
4.ตอบ เนื้อหาสาระความรู้ ทักษะประสบการณ์ ที่มีอยู่ในผู้ส่ง หรือแหล่งกำเนิด
5.ตอบ องค์ประกอบย่อยๆพื้นฐานที่จำเป็นต้องมี ตัวอย่างเช่น สระพยัญชนะวรรณยุค แดงสีเหลือง
6.ตอบ โครงสร้างที่เกิดจากการนำเอาองค์ประกอบย่อยมารวมกัน ตัวอย่าง เช่น คำประโยหรือ สีสันของรูปร่างรูปทรง ฯลฯ
7.ตอบ ข้อมูลที่เป็นความรู้สึกนึกคิดความต้องการของผู้ส่ง ตัวอย่าง เช่นข้อมูลนั้นเกี่ยวข้องกับอะไร สอดคล้องเหมาะสมกับอะไร
8.ตอบ วิธีการเลือกการจัดรหัสและเนื้อหาให้อยู่ในรูปแบบที่จะสามารถถ่ายทอดความต้องการของผู้ส่งไปยัง
ผู้รับได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เทคนิดการถ่ายทอดเทคเฉพาะตัว
9.ตอบ กลุ่มสัญลักษณ์ที่ถูกมาแทนความรู้สึกนึกคิดความต้องการ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ดนตรี เป็นต้น
10.ตอบ เสียงรบกวน อากาศร้อน กลิ่นไม่พึ่งประสงค์ แสงแดด ฯลฯ
11.ตอบ ความเครียด อารมณ์ขุ่นมัว ความวิตกกังวล
12.ตอบ การข้ารหัส
13ตอบ การถอดรหัส
14ตอบ
2.)ครูผู้สอนควรใช้สื่อหลายชนิดหรือผสมผสาน
3.)ควรให้ผู้เรียนมีประสบการณ์
4).ครูผู้สอนควรมีทักการถ่ายทอด
5.)จะต้องป้องกันหรือขจัดสิ่งรบกวน
15.ตอบ
2.)ครูผู้สอนไม่คำนึกถึงข้อจำกัดของผู้เรียน
4.)ครูผู้สอนบางคนใช้คำยาก
5.)ครูผู้สอนมักนำเสนอหาสับสน รวดเร็ว
6.)ครูผู้สอนไม่สนใจที่ใช้สื่อการสอนให้กับผู้เรียน
วันพฤหัสบดีที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2552
คําถามท้ายหน่วยการเรียนที่1
ข้อที่2.ตอบ.
1.เทคโนโลยีทางการทหาร
2.เทคโนโลยีทางการค้า
3.เทคโนโลยีทางการแพทย์
4.เทคโนโลยีทางการศึกษา
5.เทคโนโลยีทางการสื่อสาร
ข้อที่3.ตอบ. เทคโนโลยีทางการศึกษา การเอาความรู้แนวคิด กระบวนการ และผลผลิตทางวิทยาศาสตร์มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่วน ทัศนะทางสื่อวิทยาศาสตร์กายภาพ นี้ม่งไปที่วัสดุ อุปกรณ์เป็นสําคัญเพราะเห็นว่าการนําเอาเครื่องมื่อช่วยให้การเรียนรู้ในจุดมุงหมายได้ง่ายขึ้น ส่วน ทัศนะทางพฤติกรรมศาสตร์ มุ่งไปที่พฤติกรรมมนุษย์ยว่ามีพฤติกรรมเรียนรู้อย่างไรและแตกต่างระหว่างบุคคลอย่างไรจึงจะทัให้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อที่4.ตอบ.
1. บุคคลธรรมดาสามัญ อธิบายการศึกษาเป็นการเล่าเรียนฝึกฝน
2. บุคคลทางวิชาชีพทางการศึกษา ทางการศึกษาให้ความหมายว่า การศึกษาเป็นศิลปะ
3. บุคคลที่เป็นนักการศึกษา นักศึกษาจะมีทัสนะทางการศึกษาที่แตกต่างกัน
ข้อที่5.ตอบ. เทคโนโลยีทางการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ระดับ
1.ระดับอุปกรณ์การสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีในระเครื่องช่ายการสอนของเพื่อช่าวการขยายความเข้าใจของนักเรียน
2.ระดับวิธีการสอน โดยผู้สอนไม่จําเป็นจะต้องอยู่ในสถานที่เดียวกันกับผู้เรียนเสอมไป
3.ระดับการจัดระบบการศึกษาเป็นการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาระดับกว้างสามารถจัดพระบบการศึกษาตอบสนองผู้เรียนได้จํานวนมาก
ข้อที่6.ตอบ.ข้อแตกต่าง เทคโนโลยี คือ การเอาขบวนการวิธีการมาประยุกต์ใช้อย่างมีระบบแบบมีประสิทธิภาพ ส่วน นวัตกรรม คือ การคิดหรือการกระทําสิ่งใหม่ๆนฺมาปรับปรุงเปลียนแปลงให้มีประสิทธิภาพ
ข้อที่7.ตอบ. มี 3 ขั้นตอน
1. ขั้นการประดิษฐ์คิดค้น
2. ขั้นการพัฒนาการหรือขั้นการทดลอง
3. ขั้นการนําไปปฎิบัติจริง
ข้อที่8.ตอบ.
1.ช่วยให้ผู้เรียนเรียนได้กว้างมากขึ้น
2.ให้การจัดการศึกษาดีขึ้น
3.มีบทบาทสําคัญต่อการพัฒนาสื่อการสอน
4.ทําให้การเรียนรู้ไม่เน้นเฉพาะด้านความรู้อย่างเดียว
5.ช่าวเพิ่มโอการทางการศึกษา
ข้อที่9.ตอบ.
1.อินเตอร์เน็ต
2.ไปรษณีย์
3.เครื่องฉายข้ามศรีษะ
ข้อที่10.ตอบ.
1.การเพิ่มจํานวนประชากร
2.การเปลียนแปลงทางเศรษบกิจและสังคม
3.ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการใหม่ๆ
ข้อที่11.ตอบ.
1.คนไทยส่วนใหญ่ไม่นําถือตนเอง
2.คนไทยส่วนใหญไม่เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม
3.คนไทยส่วนใหญ่ขาดลักษณะที่พึ่งประสงค์
ข้อที่12.ตอบ.
1.กล้าและรู้จักการแสดงความคิดเห็น
2.สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
3.รู้จักการทํางานรวมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
4.รู้จักแสวงหาความรู้เอง
5.มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม